เศรษฐกิจพอเพียง “...เมื่อปี ๒๕๑๗ วันนั้นได้พูดถึงว่า เราควรปฏิบัติให้พอมีพอกิน พอมีพอกินนี้ก็แปลว่าเศรษฐกิจพอเพียงนั่นเอง ถ้าแต่ละคนมีพอมีพอกิน ก็ใช้ได้ ยิ่งถ้าทั้งประเทศพอมีพอกินก็ยิ่งดีและประเทศไทยเวลานั้นก็เริ่มจะเป็นไม่พอมีพอกิน บางคนก็มีมาก บางคนก็ไม่มีเลย ... ... คนเรา ถ้าพอใจในความต้องการ ก็มีความโลภน้อย เมื่อมีความโลภน้อยก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย ถ้าประเทศใดมีความคิดอันนี้ มีความคิดว่าทำอะไรต้องพอเพียง หมายความว่าพอประมาณ ซื่อตรง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุข พอเพียงนี้อาจจะมีมาก อาจจะมีของหรูหราก็ได้ แต่ว่าต้องไม่ไปเบียดเบียนคนอื่น ต้องให้พอประมาณ ตามอัตภาพ พูดจาก็พอเพียง ทำอะไรก็พอเพียง ปฏิบัติตนก็พอเพียง ...” “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำรัสชี้แนะ แนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๓๐ ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้ำแนวทางแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และสามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ซึ่งสามารถนำใช้ได้ในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัวระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ความพอเพียง หมายถึง (ความพอประมาณ ความมีเหตุผล) รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอก และภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสำนึกใน คุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรู้ที่เหมาะสม ในการดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี ความพอเพียง จะต้องประกอบด้วย ๓ คุณลักษณะ ดังนี้ ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ไม่ใช้จ่ายเกินกำลังความสามารถในการหารายได้ของตน ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างสมเหตุสมผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้น ๆ อย่างรอบคอบ เช่น คิดก่อนใช้ สิ่งใดจำเป็นหรือไม่จำเป็น ใช้จ่ายอย่างประหยัด และแบ่งปันเกื้อกูลต่อสังคม การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลง ด้านต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต เช่น การเก็บออมเงินไว้ใช้ เมื่อเกษียณอายุจากการทำงาน หรือใช้ในยามฉุกเฉิน การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้พอเพียง ต้องอาศัยความรู้และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน ประกอบอาชีพที่สุจริต ด้วยความขยันหมั่นเพียร ใช้สติปัญญาในการตัดสินใจต่าง ๆ เพื่อให้เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลง เราทุกคนสามารถนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต ได้ดังนี้ พอประมาณ : รายจ่ายสมดุลกับรายรับ ใช้จ่ายภายในกำลังความสามารถของตน ไม่ใช้จ่ายเกินตัว ไม่โลภจนเบียดเบียนตัวเองหรือผู้อื่น ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม มีเหตุผล : ใช้จ่ายอย่างมีเหตุผล มีความจำเป็น ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ประหยัด ไม่ใช้สิ่งของ เกินฐานะ ไม่เล่นการพนันหรือเสพสิ่งเสพติด รู้ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในด้านต่าง ๆ มีภูมิคุ้มกัน : รักษาสุขภาพกายสุขภาพใจให้แข็งแรง พัฒนาความรู้ความสามารถของตนเองอย่าง ต่อเนื่อง มีเงินเก็บออม ทำบุญ และแบ่งปันช่วยเหลือเกื้อกูลผู้อื่น ความรู้คู่คุณธรรม : ประกอบอาชีพที่สุจริต ด้วยความขยันหมั่นเพียร ซื่อตรงต่อหน้าที่และยืนหยัด ในความถูกต้อง อุทิศตนเพื่องาน ทำงานเพื่องาน ทำงานอย่างผู้รู้จริง รู้รักสามัคคีหากเราทุกคนนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาน้อมนำประพฤติปฏิบัติ นอกจากจะส่งผลให้เกิดการพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในทุกด้านแล้ว ยังเป็นการเสริมสร้างพื้นฐานของจิตใจของคนในชาติ ให้มีความพอดี มีคุณธรรม มีความสุขที่แท้จริง ไม่หลงยึดติดในโลกแห่งวัตถุนิยมการจัดทำบัญชีเงินออมครัวเรือน บันทึกรายรับและรายจ่ายอย่างสม่ำเสมอ เป็นวิธีการหนึ่งที่จะช่วยตรวจสอบการใช้จ่ายของครอบครัวว่า มีรายจ่ายสมดุลกับรายรับ ใช้จ่ายอย่างมีเหตุผลตามความจำเป็น พอเหมาะกับสภาพของครอบครัวหรือไม่ หากสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคเพื่อลดรายจ่ายที่ไม่จำเป็นหรือฟุ้งเฟ้อเกินตน จะช่วยให้สามารถมีเงินเก็บออมเพื่อเป็นรากฐานสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีสำหรับชีวิตในอนาคต
หน้าแรก
เนื้อหาการทำเกษตร
»
การปลูกพืชผักสวนครัว
การปลูกพืชสวน
การปลูก ดอกประดับแต่งสวน
การทำ โฮโมนและปุ๋ย
อื่นๆ
»
ฝากคำขอเนื้อหาเพิ่มเติมจากเว็บเเรา
ดาวโหลดเอกสารการเกษตร
»
การปลูกพืชผักสวนครัว
การปลูกพืชสวน
การปลูก ดอกประดับแต่งสวน
การทำ โฮโมนและปุ๋ย
อื่นๆ
»
ขอเอกสาร
หลักคิดคนทำเกษตร
บุคคลตัวอย่าง
»
บุคคลดีเด่น
»
ปู่เย็น
บุคคลเกษตรกรตัวอย่าง
ตลาด
»
จุดขาย
จุดผลิต
บทกลอน
ทีมงาน
วันจันทร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
การปลูกมะกรูดตัดใบขาย
06:24
อนุสรณ์
No comments
การปลูกมะกรูดตัดใบขาย
เกษตรกรหลายพื้นที่มักประสบปัญหาการเพาะปลูกพืชไม่ได้ผล ส่วนใหญ่เกิดจากดินขาดความ
อุดมสมบูรณ์ เนื่องจากการปลูกพืชชนิดเดียวซ้ำกันหลายปี ไม่มีการปลูกพืชหมุนเวียน อีกทั้งมีการใช้ปุ๋ยเคมีเพียงอย่างเดียวเป็นส่วนใหญ่ ทำให้ดินมีสภาพเป็นกรด ขาดความอุดมสมบูรณ์ ดินที่เคยร่วนซุยกลายเป็นดินเหนียวแน่น การระบายน้ำไม่ดี ที่สำคัญเป็นดินที่ขาดจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ต่อดินและพืช ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นดินตาย ไม่ว่าจะมีการใส่ปุ๋ยบำรุงพืชดีเพียงใดก็มักไม่ได้ผล พืชจะเจริญเติบโตได้ไม่เต็มที่ ดังนั้น ทางที่ดีก่อนปลูกพืชชนิดใดก็ตามต้องมีการเตรียมดิน ปรับสภาพดินเพื่อให้เหมาะสำหรับการงอกของเมล็ด การปลูกพืชและการเจริญเติบโตของพืช เช่น การไถ การย่อยดิน และการกำจัดวัชพืช ซึ่งหลากหลายปัญหานะค่ะ วันนี้เราจะนำการปลูกมะกรูดตัดใบมาฝากเพื่อนๆ ผู้ติดตามบล็อก
Poo nita farm (
ภูนิตาฟาร์ม) ค่ะ เพราะมะกรูดนอกจากจะนำปรุงแต่งรสชาติของอาหารแล้ว ยังสามารถจะแปรรูปได้หลายอย่างรวมทั้งจะปลูกเป็นอาชีพเสริม หรืออาชีพหลักของเกษตรกรได้เลยทีเดียว
…
และมะกรูด ก็เป็นพืชที่ชอบดินที่มีการระบายน้ำที่ดี น้ำไม่ท่วมขังเช่นเดียวกันเพราะฉะนั้นเกษตรกรก็ต้องดูแลเอาใจใส่เพื่อผลผลิตที่ดีค่ะ
วิธีการปลูก
สภาพพื้นที่ปลูกต้นมะกรูดต้องมีการระบายน้ำที่ดี น้ำไม่ท่วมขัง มีระดับ
pH 5.5-7.0
ดินมี
อินทรียวัตถุสูง เนื่องจากระยะปลูกมะกรูดมีความสัมพันธ์กับการเตรียมแปลงและจำนวนต้นปลูกความกว้างของแปลง
ปลูก
1
เมตร ยกระดับความสูงของแปลงประมาณ
20-25
เซนติเมตร ความห่างระหว่างจุดกึ่งกลางของแปลง
1.5
เมตร ระยะปลูกห่างระหว่างต้น
50
เซนติเมตร ปลูกแบบสลับฟันปลา
การใช้ระยะปลูกที่ห่างกว่านี้ไม่มีความจำเป็นเนื่องจากการผลิตใบมะกรูดต้องอาศัยกรรมวิธีในการตัดแต่งซึ่งเท่ากับเป็นการควบคุมขนาดพุ่มต้นพร้อมกันด้วย กิ่งพันธุ์สามารถใช้ต้นพันธุ์ที่ขยายพันธุ์จากการเพาะเมล็ด กิ่งปักชำ หรือกิ่งตอนก็ได้ แต่ต้นพันธุ์มะกรูดที่จะนำมาใช้ปลูกจะต้องปลอดจากโรคแคงเคอร์ หากโรคแพร่ระบาดเข้าไปในแปลงปลูกแล้ว ก็ยากที่จะกำจัดได้และมีปัญหาต่อการส่งออก
มะกรูดที่นิยมปลูกแบ่งออกได้เป็น
2
สายพันธุ์หลัก
แบ่งออกเป็น
2
สายพันธุ์หลัก คือ สายพันธุ์ที่
ให้ผลมะกรูดดกตลอดปี ผิวผลค่อนข้างเรียบและผลมีขนาดเล็กอีกสายพันธุ์หนึ่งเป็นพันธุ์ผลใหญ่และติดเป็นพวง ลักษณะของผลมีตะปุ่มตะป่ำคล้ายหูดและมีใบขนาดใหญ่ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่เหมาะที่จะปลูกเพื่อผลิตใบและผลขายส่งโรงงานแปรรูปน้ำมันหอมระเหย เครื่องอุปโภคหลายชนิด อาทิ สบู่ ยาสีฟัน น้ำยาล้างจาน เครื่องสำอาง ฯลฯ ล้วนแต่มีส่วนผสมของน้ำมันหอมระเหยจากใบและผลมะกรูด ยังมีข้อมูลบริษัทบางแห่งมีการนำเอาใบมะกรูดไปตากแห้งและบดให้ละเอียด ปั้นเป็นลูกกลอนเพื่อส่งออก บ้างก็นำเอาไปเป็นส่วนผสมในอาหารไก่เพื่อช่วยต้านทานโรค ในทางการแพทย์แผนไทยมีการใช้มะกรูดเป็นยาหรือส่วนผสมของยาต่างๆ อาทิ น้ำในผลมะกรูดแก้อาการท้องอืด ช่วยให้เจริญอาหาร น้ำมะกรูดใช้ดองยาเพื่อใช้ฟอกเลือดและบำรุงโลหิตในสตรี ส่วนของเนื้อนำมาใช้เป็นยาแก้อาการปวดศีรษะ ส่วนของใบมะกรูดใช้เป็นยาขับลมในลำไส้ แก้อาการจุกเสียด
การปลูกมะกรูดเพื่อตัดใบขาย
ควรปลูกด้วยกิ่งตอน ก่อนจะปลูกควรนำปุ๋ยคอกมาใส่ผสมกับดิน เพื่อให้ดินมีอาหารอุดมสมบูรณ์ดี
หลุมที่ปลูกมีขนาดกว้าง
x
ยาว
x
ลึก ประมาณ
80
เซนติเมตรก่อนที่จะวางพืชลงปลูกในหลุมควรหาใบไม้ใบหญ้าแห้งที่เน่าเปื่อยผุพังใส่รองก้นหลุมระยะปลูกประมาณ
5 x 5
เมตร
เทคนิคในการปลูกคือ ก่อนอื่นจะต้องรู้หน้าใบและหลังใบ ในการปลูกส่วนของหน้าใบจะต้องหันสู่ทิศตะวันออก (ดวงอาทิตย์ขึ้นทางไหน หันใบไปทางนั้น) ฤดูกาลปลูกแนะนำให้ปลูกในช่วงปลายฤดูฝนต้นฤดูหนาวจะดีที่สุด ถ้าปลูกในช่วงฤดูฝนมักจะพบปัญหาเรื่องโรคราเนื่องจากมีความชื้นสูง
ในการเตรียมหลุมปลูกต้นมะกรูดจะไม่รองก้นหลุมด้วยสารฆ่าแมลงในกลุ่มของสารคาร์โบฟูราน
เพื่อป้องกันการทำลายจากปลวก จะใส่สารคาร์โบฟูรานหลังจากปลูกเสร็จ เพราะว่าปลวกหรือแมลงศัตรูในดินจะทำลายรากของต้นมะกรูดในช่วงผิวดินที่ลึกประมาณ
1-2
เซนติเมตร เท่านั้น ต้นมะกรูดจะตั้งตัวหลังจากปลูกไปได้ประมาณ
1
เดือน ให้ใช้ปุ๋ยยูเรียผสมกับปุ๋ยคอกเก่า (ขี้วัวเก่า) ใส่ให้กับต้นมะกรูด แต่ให้ใส่ห่างจากโคนต้นสัก
1
คืบ ถ้าเป็นช่วงฤดูแล้งให้ทำเปลือกถั่วเขียวมาคลุมโคนต้น อย่าให้ติดโคนต้นเช่นกัน ปุ๋ยที่ใส่ไปจะกระตุ้นการแตกยอดให้เร็วขึ้น
การปฏิบัติดูแลรักษา
การให้น้ำ ในระยะที่ปลูกมะกรูดใหม่ ๆ ต้องหมั่นรดน้ำให้ความชุ่มชื้นแก่พืช จะทำให้พืชตั้งตัวได้
เร็ว แตกใบอ่อนกิ่งอ่อนดี
การใส่ปุ๋ย ควรใส่ปุ๋ยเพิ่มธาตุอาหารให้พืชเป็นครั้งคราว ซึ่งอาจเป็นปุ๋ยอินทรีย์หรือปุ๋ยวิทยาศาสตร์
และปุ๋ยชีวภาพก็ได้ ปกติจะรับประทานใบมะกรูดเป็นอาหารจึงมักใช้ปุ๋ยที่มีไนโตรเจนสูง เช่น
20-14-14
หรือใส่ปุ๋ยพื้น เช่น
15-15-15
สูตรให้ปุ๋ย :
ทางราก
…..
ขี้วัว
–
แกลบดิบ
–
ยิบซั่ม
6
เดือน/ครั้ง
…..
ให้
“
ปุ๋ยน้ำชีวภาพระเบิด เถิดเทิง
30-10-10
อัตรา
2
ล./ไร่/เดือน
ทางใบ
……
ให้
“
ไบโออิ + ยูเรีย จี. + จิ๊บเบอเรลลิน
” 1-2
รอบห่างกันรอบละ
5-7
วัน หลังตัดยอดเก็บใบ
หมายเหตุ :
-
พืชตระกูลส้มต้องการ แม็กเนเซียม-สังกะสี สูง
-
ยูเรีย จี
,
จิ๊บเบอเรลลิน. ช่วยให้แตกยอดใหม่เร็ว
-
ให้สารอาหารตามนี้แล้วไม่ต้องใส่ปุ๋ยเคมีเพิ่ม เพราะมีแล้วอย่างเพียงพอสำหรับ มะกรูดตัดใบ
การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
การดูแลรักษาหลังการปลูก
วิธีตัดใบเพื่อนำไปขาย ให้เลือกตัดกิ่งที่ยาวๆ คล้ายกับเราตัดแต่งกิ่ง เพียงแต่ต้องตัดให้ยาวไว้ ไม่ต้องตัดซอยสั้น หรือให้กิ่งตัดมีความยาว
50
เซนติเมตร ขึ้นไป ส่วนต้นมะกรูดให้แต่งซอยสั้น ทำเพื่อเป็นการพักต้นไปเลยหลังจากนั้น นำมามัดเป็นกำๆ
1
กำ มีอยู่
7-8
กิ่ง
การบังคับการออกดอก หากปลูกให้ออกดอกตามธรรมชาติแล้ว ก็จะได้ดอกในช่วงฤดูหนาว อายุผลยังไม่ทราบแน่นอน แต่คาดว่าจะใกล้เคียงกับมะนาว คือจากดอกบานถึงเก็บเกี่ยวได้ ประมาณ
4
เดือนครึ่ง อย่างไรก็ตาม จากผลการทดลองใช้สารชะลอการเจริญเติบโตพาโคลบิวทราโซล ร่วมกับการตัดปลายยอดพบว่าสามารถชักนำให้ต้นมะกรูดมีการออกดอกได้ดีมาก โดย ต้นมะกรูดเริ่มออกดอกภายหลังการตัดยอด ประมาณ
90
วัน และมีดอกมากที่สุดในช่วงระหว่าง
100-120
วัน แนะนำให้เกษตรกรที่จะปลูกมะกรูดในพื้นที่
1
ไร่ ให้ปลูกด้วยการใช้ต้นมะกรูดเสียบยอดและควรใช้พันธุ์ที่มีขนาดใบใหญ่และผลตะปุ่มตะป่ำ
สำหรับใบมะกรูดที่มีตำหนิโรงงานที่รับซื้อใบและผลมะกรูดก็รับซื้อทั้งหมดเพื่อจะนำไปผลิตเป็นน้ำมันหอมระเหย จะมีการรับซื้อทั้งใบและผลโดยรับซื้อเป็นกิโลกรัม รูปแบบของการรับซื้อจะมีรถพร้อมคนงานไปตัดใบและผลมะกรูดถึงสวน รถปิคอัพแต่ละคันจะต้องตัดใบมะกรูดได้อย่างน้อยวันละ
500
กิโลกรัม
โรคและแมลง (เช่น หนอนชอนใบ เพลี้ยไฟ และไร เป็นต้น) จะรับซื้อในราคากิโลกรัมละ
3
บาท ส่วนของผลมะกรูดจะรับซื้อทั้งหมด (แยกเฉพาะผลเน่าออก) โดยใช้วิธีการเขย่าต้น ในราคาเฉลี่ย
จะมีหนอนของผีเสื้อกลางคืนกัดกินใบมะกรูดและยอดอ่อน จึงควรตรวจตราจับหนอนดังกล่าวใน
เวลาเช้าแล้วทำลายทิ้งเสีย
ในช่วง
1-2
เดือนแรกก็เพียงแต่รดน้ำเช้าเย็นเท่านั้น และเมื่ออายุปลูกได้
8
เดือน จึงบำรุงต้นอีกครั้ง
โดยใช้ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยอินทรีย์ใส่รอบๆ บริเวณโคนต้น การให้น้ำก็จะลดลงเหลือเพียงวันละครั้งเดียว เมื่อต้นมะกรูดขึ้นปีที่
2
ก็เริ่มที่จะเก็บผลผลิตตัดใบไปจำหน่ายได้เลย
เมื่อเก็บผลผลิตที่ต้องการหมดคงเหลือแต่ต้นมะกรูด จะพักต้นไว้ประมาณ
4
เดือน เพื่อได้บำรุงต้น
ให้แตกกิ่งก้านออกมาอีก ในช่วงนี้จะจ้างแรงงานมาทำแปลง ในการพรวนดินรอบๆ ต้น ใส่ปุ๋ย กำจัดวัชพืช และนำโคลนที่อยู่ในท้องร่องสวน ขึ้นมากลบบริเวณโคนต้นเพื่อเป็นการเพิ่มธาตุอาหารให้กับต้นมะกรูด หลังจากนั้น ต้นมะกรูดจะให้ผลผลิตใบได้อีกรอบ ทำหมุนเวียนกันไปจนครบทั้งหมดมะกรูดเชิงการค้านั้น จะมุ่งเน้นเฉพาะการเจริญเติบโตด้านกิ่งใบเป็นหลัก การตัดแต่งเป็นการกระตุ้นให้มีการผลิตาและยังส่งเสริมในด้านการเจริญเติบโต ทางกิ่งใบรวมทั้งระยะปลูกและจำนวต้นที่ปลูกจะต้องมีความเหมาะสมในเรื่องของการดูแลรักษาต้นมะกรูดเพื่อตัดใบขายนั้น ควรจะมีการฉีดพ่นสารเคมีเพื่อป้องกันรักษาใบให้ดี โดยเฉพาะในช่วงของการแตกใบอ่อนจะพบการระบาดของหนอนชอนใบ แนะนำให้ฉีดพ่นสารโปรวาโด อัตรา
1-2
กรัม ต่อน้ำ
20
ลิตร (
1
ปี๊บ) เป็นที่ทราบกันดีว่า สารโปรวาโดเป็นสารในกลุ่มอิมิดาคลอพริดที่ใช้อัตราน้อยที่สุด และเมื่อคำนวณต้นทุนการผลิตต่ำกว่าสารอิมิดาคลอพริดชนิดอื่นๆ นอกจากนั้น เกษตรกรที่ปลูกต้นมะกรูดจะต้องควบคุมโรคแคงเกอร์ให้ได้ โดยภาพรวมแล้วการปลูกมะกรูดมีการดูแลรักษาที่น้อยกว่าการ
ปลูกมะนาวและพืชตระกูลส้มชนิดอื่นๆ
การเก็บเกี่ยวใบมะกรูดครั้งแรกเมื่อปลูกไปประมาณ
4-6
เดือน จะเริ่มการตัดแต่งกิ่งโดยตัดให้อยู่ใน
ระดับความสูง
60-80
เซนติเมตร จากผิวดิน กำจัดกิ่งที่อยู่ในแนวนอนออกไป ภายหลังการตัดแต่งแล้ว ตาจะเริ่มผลิ ผลจากการศึกษา การผลิตใบมะกรูดควรปฏิบัติดังนี้ กิ่งควรอยู่ในแนวตั้งฉากหรือเกือบตั้งฉาก จะให้จำนวนกิ่ง จำนวนใบต่อกิ่งและขนาดใบที่ใหญ่
ระดับของการตัดแต่ง ไม่ควรตัดแต่งเกินครึ่งหนึ่งของความยาวกิ่ง หากตัดเหลือตอกิ่งมีผลทำให้การ
ผลิตายืดเวลาออกไป ขนาดของกิ่งที่เหมาะสม ควรเป็นกิ่งที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน
1
เซนติเมตร.
(เสียบบนต้นตอมะนาวพวง รากมะนาวพวงหากินเก่งทำให้ต้นเจริญเติบโตไว) ที่ไม่ส่งเสริมให้ปลูก
โดยการใช้กิ่งตอนเนื่องจากเมื่อต้นใหญ่ขึ้นมีโอกาสโค่นล้มได้ง่าย วิธีการเสียบยอดมะกรูดควรใช้วิธีการเสียบแบบผ่าลิ่ม ต้นตอจะใช้กิ่งมะนาวพวงโดยเลือกกิ่งที่มีลักษณะกลางแก่กลางอ่อนที่มีขนาดต้นประมาณแท่งดินสอ (วิธีสังเกตต้นตอที่ดีเปลือกผิวจะมีลายที่ชาวบ้านเรียกว่า
“
ลายนกคุ้ม
”
จะดีมาก) สำหรับยอดพันธุ์มะกรูดที่จะนำมาเสียบควรเลือกกิ่งที่มีความสมบูรณ์และใบสวย ขนาดของยอดที่ตัดมาเสียบให้มีความยาวประมาณ
30-50
เซนติเมตร และขนาดของยอดควรใหญ่ใกล้เคียงกับต้นตอ ข้อดีของการปลูกต้นมะกรูดที่ได้จากการเสียบยอดแบบผ่าลิ่มคือ ระบบรากจะดีมาก เมื่อแผลจากการเสียบประสานเชื่อมติดสนิทจะเหมือนกับต้นเพาะเมล็ด ต้นจะเจริญเติบโตได้เร็วมาก
ในพื้นที่
1
ไร่ จะปลูกมะกรูดได้
400
ต้น โดยใช้พื้นที่ปลูก
2×2
เมตร และแซมด้วยการปลูกกล้วย
น้ำว้าเพื่อช่วยเป็นร่มเงาในปีแรก เมื่อต้นมะกรูดมีอายุได้
1
ปีเต็ม เราจะได้กล้วยต้นละ
1
เครือ เป็นรายได้เสริม ให้โค่นต้นกล้วยทิ้งเมื่อต้นมะกรูดมีอายุเข้าปีที่
3
เริ่มตัดใบมะกรูดขายได้ทุกๆ
3
เดือน เมื่อคิดเป็นเงินจากการขายใบมะกรูด
70
บาท ต่อต้น ต่อรุ่น จะได้เงิน
28,000
บาท (ใน
1
ปี จะมีรายได้จากการขายใบมะกรูดถึง
112,000
บาท ต่อไร่) สภาพพื้นที่ปลูกควรเลือกสภาพดินร่วนปนทรายที่มีการระบายน้ำที่ดีและเตรียมแปลงแบบลูกฟูกเพื่อช่วยการระบายน้ำ จุดสำคัญที่สุดของการปลูกมะกรูดเพื่อตัดใบขาย
นั้นจะต้องมีสภาพแหล่งน้ำที่สมบูรณ์ (ถ้าแหล่งน้ำไม่สมบูรณ์อาจจะตัดใบมะกรูดได้เพียงปีละครั้ง
เท่านั้น)สำหรับพื้นที่ที่พบว่ามีลมพัดแรงจำเป็นจะต้องปลูกต้นไม้กันลม เกษตรกรควรจะปลูกต้นสนปฎิพัทธ์ ไผ่รวกหรือไผ่ชนิดอื่นๆ เป็นแนวกันลมก็ได้ หรืออาจจะปลูกกล้วยหินซึ่งจัดเป็นกล้วยท้องถิ่นของ
3
จังหวัดชายแดนภาคใต้ ทางชมรมเผยแพร่ความรู้ทางการเกษตร ได้มีการนำต้นพันธุ์กล้วยหินมาจากไร่ บี.เอ็น ตำบลแคมป์สน อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ มาปลูกรอบแปลงปลูกไม้ผล ผลปรากฏว่าต้นกล้วยหินซึ่งจัดเป็นกล้วยที่ลำต้นสูงใหญ่ใช้เป็นแนวกันลมได้อย่างดีไม่แพ้ไม้ชนิดอื่นๆ ยังมีคำแนะนำเพิ่มเติมสำหรับเกษตรกรที่ปลูกกล้วยไข่ว่า ควรจะปลูกกล้วยหินเป็นแนวกันลมล้อมรอบแปลงกล้วยไข่
การตลาดและการจำหน่าย
สำหรับใบมะกรูดที่มีตำหนิโรงงานที่รับซื้อใบและผลมะกรูดก็รับซื้อทั้งหมดเพื่อจะนำไปผลิตเป็น
น้ำมันหอมระเหย จะมีการรับซื้อทั้งใบและผลโดยรับซื้อเป็นกิโลกรัม รูปแบบของการรับซื้อจะมีรถพร้อมคนงานไปตัดใบและผลมะกรูดถึงสวน รถปิคอัพแต่ละคันจะต้องตัดใบมะกรูดได้อย่างน้อยวันละ
500
กิโลกรัม
โดยจะเริ่มลงมือประมาณ
9
โมงเช้า-ประมาณบ่าย
2
โมง จะเสร็จเรียบร้อย ขนใบมะกรูดมารวบรวม
ไว้ในที่ร่มเพื่อเตรียมส่งโรงงานและจะเก็บใบและผลมะกรูดได้ไม่เกิน
3
วัน เจ้าของสวนเพียงแต่นัดวันเวลาให้ไปตัดเท่านั้น ราคารับซื้อถึงสวนถ้าเป็นใบที่สวยจะรับซื้อเฉลี่ยกิโลกรัมละ
7-10
บาท ส่วนใบที่มีตำหนิ
หรือมีร่องรอยของการทำลายของ
โรคและแมลง (เช่น หนอนชอนใบ เพลี้ยไฟ และไร เป็นต้น) จะรับซื้อในราคากิโลกรัมละ
3
บาท
ส่วนของผลมะกรูดจะรับซื้อทั้งหมด (แยกเฉพาะผลเน่าออก) โดยใช้วิธีการเขย่าต้น ในราคาเฉลี่ย กิโลกรัมละ
3
บาท เช่นกัน ปัจจุบันพื้นที่ปลูกมะกรูดในเชิงพาณิชย์ยังมีน้อยมากและยังมีเกษตรกรอีกจำนวนมากที่ยังไม่ทราบว่าใบและมะกรูดมีตลาดดีกว่าพืชอีกหลายชนิด และเป็นพืชที่มีการจัดการดูแลรักษาไม่ยุ่งยากเหมือนพืชตระกูลส้มชนิดอื่นๆ แหล่งผลิตใบและผลมะกรูดที่สำคัญในปัจจุบันนี้จะอยู่ที่จังหวัดกาญจนบุรี และจังหวัดอุทัยธานีเทคนิคสำคัญในการจัดการในแปลงปลูกมะกรูดมีดังนี้ จะใช้ผ้าพลาสติกคลุมแปลงปลูกหรือใช้ฟางข้าวคลุมแปลง เพื่อป้องกันวัชพืชและช่วยรักษาความชื้น หากมีการใช้ผ้าพลาสติกคลุมแปลงแล้ว ระบบการให้น้ำจำเป็นต้องใช้เป็นแบบน้ำหยดที่มีการให้ปุ๋ยไปกับน้ำพร้อมกันด้วย สำหรับแปลงปลูกที่ไม่ได้มีการใช้ผ้าพลาสติกแล้ว ก็สามารถเลือกใช้การให้น้ำระบบต่าง ๆ ที่มีอยู่ตามความเหมาะสมได้ การให้ปุ๋ย ผลจากการตัดใบมะกรูดนั้นเป็นการนำเอาแร่ธาตุอาหารออกไปจากดินอย่างต่อเนื่อง จึงจำเป็นที่จะต้องให้ปุ๋ยชดเชยกลับคืนให้กับต้นดังเดิม ระดับของปริมาณธาตุอาหาร
N-P-K
ควรมีสัดส่วนประมาณ
5 : 1 : 3
หรือ
5 : 1 : 4
หรือใกล้เคียงกันวิธีปักชำกิ่งมะกรูดด้วยต้นตอมะนาวพวง
เตรียมดินเพาะชำโดยใช้ขี้เถ้า
1
ส่วน ดินดำ
2
ส่วน ใส่ถุงดำขนาด
4×7
นิ้ว แต่ต้องเป็นวัสดุที่แห้ง
เพราะถ้าเปียกชื้นจะทำให้เกิดเสี้ยนดิน
จัดหากิ่งพันธุ์มะกรูดและกิ่งพันธุ์มะนาวพวง โดยคัดเลือกกิ่งที่สมบูรณ์ สภาพดี อายุที่เหมาะสม
สังเกตจากลายนกคุ้ม คือ มีลายดำแซมยาว และต้องคัดขนาดที่ใกล้เคียงกัน ตัดกิ่งตอมะนาวพวงเป็นท่อนยาวประมาณ
4-5
เซนติเมตร ควรทำตำหนิโคนกิ่ง ป้องกันการสับสนในการเสียบยอด ก่อนผ่ากลางที่ปลายกิ่งด้วยมีดที่คมไม่เป็นสนิม ลึกประมาณ
3
เซนติเมตร เฉือนกิ่งมะกรูดที่เตรียมไว้ทั้ง
2
ด้านให้เป็นลิ่ม ขนาดแผลเท่ากับความลึกของแผลต้นตอที่เตรียมไว้ เสียบยอดพันธุ์ดีลงในแผลของต้นตอ ให้รอยแผลตรงกัน แล้วใช้ผ้าพลาสติกพันจากล่างขึ้นบน ให้คลุมแผลจนเต็ม ก่อนพันรัดให้แน่น นำต้นพันธุ์ไปชำในถุงดินที่เตรียมไว้ โดยรดน้ำให้ความชื้นที่พอเหมาะ สังเกตจากการบีบดูไม่ให้แฉะเกินไป ใช้ไม้แทงลงดินก่อนนำต้นพันธุ์ลงชำในถุง นำไปเก็บไว้ในโรงอบพลาสติกไม่ต้องรดน้ำ ทิ้งไว้นาน
60
วัน รอยแผลจะประสานกันดี และนำออกมาพักไว้ในโรงเรือนอย่างน้อย
7
วัน ก็สามารถนำไปปลูกได้ตามปกติวิธีทาบกิ่งมะกรูดด้วยต้นตอมะนาวพวง
เตรียมอุปกรณ์และวัสดุ ขุยมะพร้าวที่ร่อนด้วยตะแกรง เพื่อนำใยมะพร้าวออกให้เหลือเฉพาะขุย
มะพร้าว นำไปใส่ถุงพลาสติกใส (ถุงใส่ของร้อน) ขนาด
3×5
นิ้ว ก่อนที่จะจัดหากิ่งมะนาวพวง โดยใช้กิ่งที่สมบูรณ์ สภาพดี อายุที่เหมาะสม สังเกตจากกิ่งมีลายนกคุ้ม คือ มีลายดำแซมยาว นำมาตัดเฉียงควรทำตำหนิโคนกิ่ง ป้องกันการสับสนในการปักชำ ความยาวของกิ่งประมาณ
4-5
นิ้ว จุ่มโคนกิ่งด้วยน้ำฮอร์โมนเร่งรากที่เตรียมไว้ ทิ้งไว้ให้แห้งก่อนที่จะชำลงในถุงขุยมะพร้าวที่มีความชื้นพอประมาณ ทดสอบด้วยการทำให้ขุยมะพร้าวเป็นก้อน แต่ไม่ถึงกับมีน้ำไหลออกตามง่ามนิ้วมือ ผูกปากถุงด้วยเชือกพลาสติก คัดกิ่งมะกรูดเป็นกิ่งพันธุ์
เลือกกิ่งที่สมบูรณ์ไม่มีโรค มีขนาดใกล้เคียงกับต้นตอปาดเฉียงขึ้นบนกิ่งมะกรูดที่ได้เลือกไว้ด้วยมีด
ที่คมไม่เป็นสนิม ลึกประมาณ
2-3
เซนติเมตร เฉือนต้นตอมะนาวพวงที่เตรียมไว้ให้เป็นปากฉลาม ขนาดแผลเท่ากับความลึกของแผลกิ่งพันธุ์ดีที่เตรียมไว้ เสียบต้นตอลงการตลาดและการจำหน่าย
โดยจะเริ่มลงมือประมาณ
9
โมงเช้า-ประมาณบ่าย
2
โมง จะเสร็จเรียบร้อย ขนใบมะกรูดมารวบรวม
ไว้ในที่ร่มเพื่อเตรียมส่งโรงงานและจะเก็บใบและผลมะกรูดได้ไม่เกิน
3
วัน เจ้าของสวนเพียงแต่นัดวันเวลาให้ไปตัดเท่านั้น ราคารับซื้อถึงสวนถ้าเป็นใบที่สวยจะรับซื้อเฉลี่ยกิโลกรัมละ
7-10
บาท ส่วนใบที่มีตำหนิหรือมีร่องรอยของการทำลายของ
กิโลกรัมละ
3
บาท เช่นกัน ปัจจุบันพื้นที่ปลูกมะกรูดในเชิงพาณิชย์ยังมีน้อยมากและยังมีเกษตรกร
อีกจำนวนมากที่ยังไม่ทราบว่าใบและมะกรูดมีตลาดดีกว่าพืชอีกหลายชนิด และเป็นพืชที่มีการจัดการดูแลรักษาไม่ยุ่งยากเหมือนพืชตระกูลส้มชนิดอื่นๆ แหล่งผลิตใบและผลมะกรูดที่สำคัญในปัจจุบันนี้จะอยู่ที่จังหวัดกาญจนบุรี และจังหวัดอุทัยธานีเทคนิคสำคัญในการจัดการในแปลงปลูกมะกรูดมีดังนี้ จะใช้ผ้าพลาสติกคลุมแปลงปลูกหรือใช้ฟางข้าวคลุมแปลง เพื่อป้องกันวัชพืชและช่วยรักษาความชื้น หากมีการใช้ผ้าพลาสติกคลุมแปลงแล้ว ระบบการให้น้ำจำเป็นต้องใช้เป็นแบบน้ำหยดที่มีการให้ปุ๋ยไปกับน้ำพร้อมกันด้วย สำหรับแปลงปลูกที่ไม่ได้มีการใช้ผ้าพลาสติกแล้ว ก็สามารถเลือกใช้การให้น้ำระบบต่าง ๆ ที่มีอยู่ตามความเหมาะสมได้ การให้ปุ๋ย ผลจากการตัดใบมะกรูดนั้นเป็นการนำเอาแร่ธาตุอาหารออกไปจากดินอย่างต่อเนื่อง จึงจำเป็นที่จะต้องให้ปุ๋ยชดเชยกลับคืนให้กับต้นดังเดิม ระดับของปริมาณธาตุอาหาร
N-P-K
ควรมีสัดส่วนประมาณ
5 : 1 : 3
หรือ
5 : 1 : 4
หรือใกล้เคียงกัน
ดาวโหลดเนื้อหาในหน้านี้
ที่มาเนื้อหา http://limejuite.wordpress.com/
Posted in:
การปลูกมะกรูดตัดใบขาย
บทความใหม่กว่า
บทความที่เก่ากว่า
หน้าแรก
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
แลกลิงค์ + ลิงค์เพื่อนบ้าน
แลกลิงค์ของคุณได้ที่นี่ค่ะ
ลิงค์ของเรามีรูปร่างหน้าตาเป็นอย่างนี้ค่ะ
หากคุณต้องการที่จะนำลิงค์ของคุณมาเพิ่มในเว็บบล๊อกของเราให้คุณส่งข้อมูลลิงค์ของคุณมาได้ที่ได้ที่ E-mail...... < so.saichool@hotmail.com > ค่ะ แล้วเราจะทำการนำลิงค์ของคุณลงในเว็บบล๊อกของเราโดยเร็วที่สุด
หมายเหตุคุณต้องนำลิงค์ของเราลงในเว็บไซต์ของคุณให้เรียบร้อยเสียก่อนโดยเราจะตรวจสอบหลังจากที่คุณส่งข้อมูลที่คุณต้องการแลกลิงค์ของคุณมายังอีเมล์ของเรา (ข้อมูลคือโค้ดลิงค์ของคุณ)
ก๊อปปี้โค้ดลิงค์ลิงค์นี่ไปวางในเว็บของคุณ
แนะนำ
วีดีโอ
ฟังเพลงสบายๆ
ทางเลือกเพื่อการแบ่งปัน
หนังสือ รายงาน โครงงาน
เรายินดีทุกการดาวโหลดโหลดไปเลย
ฟรีห้ามโหลดไปทำเอกสารขาย
หนังสือ คู่ ชีวิตเกษตรกร ข้อมูลการทำเกษตรแบบพอเพียง
ฟังเพลง
เนื้อหาที่มีผู้ชมที่สุด ใน 7 วันที่ผ่านมา
การปลูกผักเสี้ยน
การปลูกดองผักเสี้ยน พื้นที่ 1 ไร่ สร้างรายได้เดือนหนึ่งหมื่นบาทจริงหรือ มีพื้นที่ถือครองมาก มีพื้นที่ถือครองปานกลาง หรือจ...
การปลูกมะรุม และการแปรรูป มะรุม
โครงการมะรุมเพื่อชีวิต Moringa Project for Life ชื่อสามัญ Horseradish Tree, Drumstick Tree, “Mother’s Best Friend” ชื่อพื้นเม...
การปลูกมะนาว ในบ่อซีเมนต์
ที่ศูนย์พัฒนาการเกษตรภูสิงห์ อำเภอภูสิงห์ จังหวัดศรีสะเกษ มีแปลงสาธิตการปลูกมะนาวในวงบ่อ เพื่อบังคับให้ออกผลนอกฤดูกาล อันเป็นผลมาจากความ...
การปลูกยางพารา ในภาคใต้,ตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือ
การปลูกยางพารา ดาวโหลดเอกสารเรื่องนี้ที่นี่ ความเตรียมพื้นที่ปลูกยาง ใน พื้นที่ที่เป็นสวนยางเก่า ป่า หรือมีไม้ยืนต้นอื่นขึ...
การปลูกชมพู่ทับทิมจันทร์
การปลูกชมพู่ทับทิมจันทร์ ชมพู่ ทับทิมจันทร์ เป็นผลไม้ที่โดดเด่น ได้รับการตอบรับจากผู้บริโภคเหนือชมพู่พันธุ์อื่...
การเลี้ยงปลาแบบธรรมชาติ
การเลี้ยงปลาด้วยฟางข้าว วัสดุในประเทศไทยที่ไม่ได้เอามาใช้ประโยชน์ ทั้งๆที่มีประโยชน์ แต่กลับถูกทิ้งอย่างไร้คุณค่ามีอยู่ 2 อย่าง...
การปลูกผักหวานบ้าน
ปลูกผักหวานบ้านขายได้เงินเร็ว ผักพื้นบ้านทั่วไปหลายชนิดที่ผู้บริโภคทั่วไปให้ความนิยม เกษตรกรเองก็มีความนิยมบริโภค ควรจะปลูกไว้ประจำครัวเ...
หลักคิดการทำเกษตร
การทำเกษตรทำไมต้องต้องทำแบบชีวภาพ ทำไมต้องปลูกในรูปแบบผสมผสาน ทำไมต้องปลูกต้นไม้แบบขั้นบันได การ ทำเกษตรแบบชีวภาพนั้นจะเป็นสิ่งที่...
การปลูกลูกยอ และการ นำมาใช้
วิธีเพาะลูกยอ ดาวโหลดเอกสารเพื่อนำไปศึกษาได้ที่นี่ วิธีเพาะลูกยอ หลายๆคน คงยังเพาะไม่งอก วันนี้ จันทร์เจ้าจะมาแนะนำวิธีการเพาะอย่า...
ไก่ดำมองโกเลีย,ญี่ปุ่น,อินโด,ไก่เบตง
ไก่ดำสายพันธ์มองโกเลีย ไก่ดำสายพันธุ์มองโกเลีย นั้นมีลักษณะแบบเดียวกับไก่ทั่วไปทุกอย่างเพียงแต่ว่ามี สีดำทั่วทั้งตัวเท่านั้น นั่นคือ...
ขับเคลื่อนโดย
Blogger
.
ฟังเพลงสบายๆ
แอดสมาชิกบล๊อก
ทวิสเตอร์เพจ
เฟสบุ๊คเพจ
สถิติ 7 วันที่ผ่านมา
การเข้าชมเว็บนี้
เริ่มนับความเคลื่อนไหวของเว้บนี้เมื่อ วัน พฤหัสบดี ที่ 6 เดือน ธันวาคม พ.ศ.2555
เนื้อหาให้ดาวโหลด
การปลูกชมพู่ทับทิมจันทร์
ความรู้สำหรับผู้ที่จะทำการค้าขาย หรือ ผู้ที่ไม่มีท...
การปลูกมะระจีน
การเลี้ยงปลาแบบธรรมชาติ
การปลูกผักเสี้ยน
การปลูกชะอม
การปลูกมะลิ
การปลูกข้าวโพด
การปลูกมะพร้าวน้ำหอม
การปลูกผักบุ้งแก้ว
การปลูกอ้อย
การปลูกจาก
การปลูกดอกดาวเรือง
การปลูกข้าว
การปลูกผักหวานบ้าน
การปรับปรุงดินเค็ม
รวมสูตรปุ๋ยชีวภาพ
หนังสือ คู่ ชีวิตเกษตรกร
เนื้อหาสุ่มจากเว็บนี้
ทีมงาน
ปราบหอยเชอร์รี่
การทำกล้วยเล็บมือนางอบแห้ง
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น